จริงอยู่ที่ช่วงนี้คนเราเริ่มตระหนักเรื่องสุขภาพกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกาย หรือแม้แต่เรื่องของประกันชีวิตและประกันสุขภาพที่ก็ได้รับความนิยมมากขึ้นเช่นกัน![🌟](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/te0/1/16/1f31f.png)
![🌟](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/te0/1/16/1f31f.png)
.
แต่เศรษฐกิจแบบนี้ใครก็ลำบาก อะไรประหยัดได้ก็อยากจะประหยัด แม้แต่ค่าประกัน! ![😱](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/t2c/1/16/1f631.png)
![😱](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/t2c/1/16/1f631.png)
.
คปภ. เผย ช่วงปีที่ผ่านมาคนไทยปล่อยให้กรมธรรม์ขาดอายุและยกเลิกไป รวมกว่า6.7แสนฉบับ และมีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่อง
.
![⭕](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/t39/1/16/2b55.png)
1.ประกันชีวิตตลอดชีพ
2.ประกันออมทรัพย์
3.ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล
![⭕](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/t39/1/16/2b55.png)
1.เสียประโยชน์ด้านความมั่นคงทางรายได้ ในกรณีการทำประกันคุ้มครองการเจ็บป่วย หรือการประกันอุบัติเหตุ ผู้เอาประกันภัยจะได้เงินทดแทนเพื่อใช้ในการเลี้ยงชีพในกรณีทุพพลภาพโดยสิ้นเชิงได้
2.เสียประโยชน์ด้านความคุ้มครองแก่คนข้างหลัง หากเราเกิดเสียชีวิตกะทันหัน ภาระหนี้สินทั้งหมดจะตกอยู่ที่คนข้างหลัง เพราะไม่มีประกันช่วยแบกความเสี่ยง
3.เสียสิทธิประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี เพราะว่าประกันชีวิตและประกันสุขภาพ สามารถนำไปลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้
4.เสียสิทธิ์ด้านอื่น ๆ เมื่อกรมธรรม์ครบกำหนดระยะเวลาหนึ่ง ก็จะมีมูลค่าเงินสด ซึ่งผู้เอาประกันสามารถขอกู้เงินจำนวนหนึ่งตามเกณฑ์ที่บริษัทกำหนดไปใช้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำได้
![⭕](https://static.xx.fbcdn.net/images/emoji.php/v9/t39/1/16/2b55.png)
1.ขอยกเลิกกรมธรรม์เพื่อรับเงินสด
แต่เงินที่จะได้นั้น ขึ้นอยู่กับการจ่ายเบี้ยประกัน และความคุ้มครองของสัญญาก็จะสิ้นสุดลง
2.ขอใช้มูลค่าเงินสำเร็จ
คือการหยุดจ่ายเบี้ยประกัน ทำให้สิทธิ์คุ้มครองอาจลดลง แต่ยังคุ้มครองจนครบสัญญาตามเดิม และเมื่อครบสัญญาก็จะได้รับเงินคืนเท่ากับจำนวนทุนประกัน
3.ขอขยายเวลาคุ้มครอง
คือไม่ต้องจ่ายเบี้ยประกัน แต่ยังมีความคุ้มครองเท่าเดิม เปลี่ยนแค่ระยะเวลาคุ้มครองนั้นจะลดลง ขึ้นอยู่กับว่าเราจ่ายเบี้ยประกันมาแล้วเท่าไหร่จากจำนวนปีทั้งหมด ถ้าจ่ายน้อย ความคุ้มครองก็จะขยายต่อไปจากวันที่หยุดจ่ายเบี้ยประกันไม่นาน และการขยายเวลาคุ้มครองอาจจะไม่ได้รับเงินคืนทันทีหรือไม่ก็ไม่ได้รับเงินตอนครบสัญญา
.
ขอขอบคุณข้อมูลจาก: FB aomMONEY
![](https://srikrunglifebroker.co.th/wp-content/uploads/2021/03/ประกันขาดอายุ-819x1024.jpg)